ยินดีต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
( Performance Agreement : PA )
นายอภิสิทธิ์ โพธิ์ทอง
ตำแหน่ง ครู
โรงเรียนห้วยยางศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ประวัติส่วนตัวผู้รับการประเมิน
นายอภิสิทธิ์ โพธิ์ทอง
เกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2537
อายุ 30 ปี
ภูมิลำเนา บ้านเลขที่ 189 หมู่ที่ 12 ตำบลคำผง อำเภอโนนนารายณ์
จังหวัดสุรินทร์
โทรศัพท์ 082-0823978
e-mail apisitpotong@gmail.com
ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน ครู
สถานที่ทำงาน โรงเรียนห้วยยางศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงตามตารางสอน รวม 22 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18.33 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
- กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี (ม.3)
- กิจกรรมชุมนุม
- กิจกรรมแนะแนว (ม.3/2)
- กิจกรรมกีฬาสี
จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 2.50 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 2.50 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
ปีการศึกษา 2566
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3.18 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 15.30 ชั่วโมง/สัปดาห์
ปีการศึกษา 2566
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 15.30 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
จาการจัดการเรียนการสอนรายวิชา วิทยาการคำนวณ ยังพบปัญหาอย่างมากในการคิด วิเคราะห์ และการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการคิดเชิงคำนวณ เนื่องจากนักเรียนไม่เข้าใจถึงกระบวนการทำงานแนวคิดเชิงคำนวณ ซึ่งแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมยังไม่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เท่าที่ควร จึงส่งผลให้การจัดการเรียนรู้ต่อผู้เรียนยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนนั้น สิ่งสำคัญคือนักเรียนควรต้องได้รับทักษะที่จำเป็นในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทักษะการเรียนทำงานแบบเรียนรู้ร่วมกัน ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเห็น การยอมรับความเห็นต่าง รวมไปถึงทักษะการสื่อสาร และทักษะทางเทคโนโลยี
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ (ต่อ)
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
จากสภาพปัญหาที่ได้กล่าวมาข้างต้น ทำให้ข้าพเจ้าได้ดำเนินการจัดทำประเด็นท้าทาย เรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการแก้ปัญหาโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ขึ้นพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนและเพื่อให้นักเรียนมีทักษะการแก้ปัญหาและเข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น
๒. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
๒.๑ ศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาการคำนวณ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
๒.๒ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรม การจัดทำสื่อและการวัดและประเมินผล
๒.๓ ผลิตแผนการจัดการเรียนรู้ สร้างสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
๒.๔ สะท้อนผลการจัดการเรียนเรียนรู้ และบันทึกผลหลังแผนการจัดการเรียนรู้
โรงเรียนห้วยยางศึกษา
ขอขอบคุณ
คณะกรรมการทุกท่าน